1.ความหมายของการสอน
คือ การสอนเป็นวิธีการหลากหลายที่ครูนำมาใช้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามศักยภาพของผู้เรียน โดยมีลักษณะการสอน 3 ประการ ดังนี้
1.การสอนเป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
2.มีจุดประสงค์ให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงค์ที่กำหนดไว้
3.การสอนให้บรรลุวัตถุประสงค์ต้องอาศัยทั้งศาสตร์และศิลป์ของผู้สอน
คือ การสอนเป็นวิธีการหลากหลายที่ครูนำมาใช้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามศักยภาพของผู้เรียน โดยมีลักษณะการสอน 3 ประการ ดังนี้
1.การสอนเป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
2.มีจุดประสงค์ให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงค์ที่กำหนดไว้
3.การสอนให้บรรลุวัตถุประสงค์ต้องอาศัยทั้งศาสตร์และศิลป์ของผู้สอน
2.องค์ประกอบของการสอน
O L E เรียกว่า ไตรยางค์การสอน ได้แก่
O=Objective จุดมุ่งหมาย
L=Leaning Experience การจัดประสบการณ์
E=Evaluation การประเมินผลการเรียนการสอน
สรุปองค์ประกอบของการสอน ดังนี้
1.หลักสูตร
2.ครูผู้สอน
3.นักเรียน
4.การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
O L E เรียกว่า ไตรยางค์การสอน ได้แก่
O=Objective จุดมุ่งหมาย
L=Leaning Experience การจัดประสบการณ์
E=Evaluation การประเมินผลการเรียนการสอน
สรุปองค์ประกอบของการสอน ดังนี้
1.หลักสูตร
2.ครูผู้สอน
3.นักเรียน
4.การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
3.หลักการสอน
1.หลักเตรียมความพร้อมในตัวครูผู้สอน
2.หลักการวางแผนการสอนอย่างเป็นระบบและชัดเจน
3.ดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนตามลำดับขั้นตอน
4.หลักการสรุปผลเพื่อปรับปรุงการสอน
ลักษณะของการสอนที่ดี
1.เป็นการสอนที่มีการเตรียมการสอนอย่างดี
2.เป็นการสอนที่มีลำดับขั้นตอนเป็นกระบวนการ
3.เป็นการสอนที่ทำให้ผู้เรียนเกิดพัฒนาการทั้งด้านความรู้ ความคิด ความชำนาญ
4.เป็นการสอนที่ผู้สอนจัดกิจกรรมการสอนได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5.เป็นการสอนที่คำนึงถึงประโยชน์ที่ผู้เรียนจะนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
6.เป็นการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการคิดริเริ่มสร้างสรรค์
7.เป็นการสอนที่เร้าความสนใจของผู้เรียน
1.หลักเตรียมความพร้อมในตัวครูผู้สอน
2.หลักการวางแผนการสอนอย่างเป็นระบบและชัดเจน
3.ดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนตามลำดับขั้นตอน
4.หลักการสรุปผลเพื่อปรับปรุงการสอน
ลักษณะของการสอนที่ดี
1.เป็นการสอนที่มีการเตรียมการสอนอย่างดี
2.เป็นการสอนที่มีลำดับขั้นตอนเป็นกระบวนการ
3.เป็นการสอนที่ทำให้ผู้เรียนเกิดพัฒนาการทั้งด้านความรู้ ความคิด ความชำนาญ
4.เป็นการสอนที่ผู้สอนจัดกิจกรรมการสอนได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5.เป็นการสอนที่คำนึงถึงประโยชน์ที่ผู้เรียนจะนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
6.เป็นการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการคิดริเริ่มสร้างสรรค์
7.เป็นการสอนที่เร้าความสนใจของผู้เรียน
4.ระบบการสอน
4.1ความหมายของระบบการสอน
4.2ความสำคัญของระบบการสอน
4.3องค์ประกอบของระบบการสอน
4.3.1ข้อมูลสู่การสอน
4.3.2กระบวนการสอน
4.3.3ผลการสอน
4.3.4ข้อมูลย้อนกลับ
4.4รูปแบบระบบการสอน
4.5การนำระบบการสอนไปใช้
4.1ความหมายของระบบการสอน
4.2ความสำคัญของระบบการสอน
4.3องค์ประกอบของระบบการสอน
4.3.1ข้อมูลสู่การสอน
4.3.2กระบวนการสอน
4.3.3ผลการสอน
4.3.4ข้อมูลย้อนกลับ
4.4รูปแบบระบบการสอน
4.5การนำระบบการสอนไปใช้
5.การเรียนรู้กับการสอน
5.1ความหมายของการเรียนรู้
การเรียนรู้ คือ กระบวนการที่บุคคลสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหลังจากที่ได้รับสิ่งเร้าต่างๆ
5.2ลักษณะของการเรียนรู้
5.3องค์ประกอบของการเรียนรู้
5.3.1แรงขับ
5.3.2สิ่งเร้า
5.3.3อาการตอบสนอง
5.3.4การเสริมแรง
5.4ทฤษฎีการเรียนรู้
5.4.1ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดด์
-กฎแห่งความพร้อม
-กฎแห่งผล
-กฎแห่งการฝึกหัด
5.4.2ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
-การเสริมแรง
-การดับหรือการลดพฤติกรรม
-การสรุปครอบคลุม
-การจำแนกความแตกต่าง
5.5ธรรมชาติการเรียนรู้
5.6ความสัมพันธ์ระหว่างหลักการเรียนรู้กับหลักการสอน
5.1ความหมายของการเรียนรู้
การเรียนรู้ คือ กระบวนการที่บุคคลสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหลังจากที่ได้รับสิ่งเร้าต่างๆ
5.2ลักษณะของการเรียนรู้
5.3องค์ประกอบของการเรียนรู้
5.3.1แรงขับ
5.3.2สิ่งเร้า
5.3.3อาการตอบสนอง
5.3.4การเสริมแรง
5.4ทฤษฎีการเรียนรู้
5.4.1ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดด์
-กฎแห่งความพร้อม
-กฎแห่งผล
-กฎแห่งการฝึกหัด
5.4.2ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
-การเสริมแรง
-การดับหรือการลดพฤติกรรม
-การสรุปครอบคลุม
-การจำแนกความแตกต่าง
5.5ธรรมชาติการเรียนรู้
5.6ความสัมพันธ์ระหว่างหลักการเรียนรู้กับหลักการสอน
6.จุดประสงค์การสอน
6.1พุทธิพิสัย
-ความรู้
-ความเข้าใจ
-การนำไปใช้
-การวิเคราะห์
-การสังเคราะห์
-การประเมินค่า
6.2จิตพิสัย
-การรับรู้
-การตอบสนอง
-การสร้างค่านิยม
-การจัดรวบรวม
-การสร้างลักษณะนิสัยจากค่านิยม
6.3ทักษะพิสัย
-การเรียนแบบ
-การทำตามข้อกำหนด
-การทำอย่างมีคุณภาพ
-การผสมผสาน
-การปรับตัว
6.1พุทธิพิสัย
-ความรู้
-ความเข้าใจ
-การนำไปใช้
-การวิเคราะห์
-การสังเคราะห์
-การประเมินค่า
6.2จิตพิสัย
-การรับรู้
-การตอบสนอง
-การสร้างค่านิยม
-การจัดรวบรวม
-การสร้างลักษณะนิสัยจากค่านิยม
6.3ทักษะพิสัย
-การเรียนแบบ
-การทำตามข้อกำหนด
-การทำอย่างมีคุณภาพ
-การผสมผสาน
-การปรับตัว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น