วิธีการสอนแบบศูนย์การเรียนรู้
คือ การสอนที่เน้นความสำคัญของนั กเรียนหรือยึดนักเรียนเป็นศูนย์ กลางและใช้เทคนิคการจัดการเรี ยนการสอนที่ใช้สื่ อประสมและกระบวนการกลุ่มเป็ นสำคัญ
วัตถุประสงค์
วิธีสอนโดยใช้ศูนย์การเรียน เป็นวิธีการที่มุ่งช่วยให้ผู้ เรียนได้ศึกษาค้นคว้าและเรียนรู้ ด้วยตนเอง
ความมุ่งหมายวิธีการสอนแบบศูนย์ การเรียน
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรี
ยนแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง - เพื่อฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม รู้จักเคารพสิทธิและความคิดเห็
นของผู้อื่น - เพื่อฝึกความรับผิดชอบ และทำกิจกรรมตามความถนัด ความสนใจ และความสามารถของตน
องค์ประกอบของศูนย์การเรียน
- บทบาทของผู้สอน
- เป็นผู้กำกับการเรียนรู้
- เป็นผู้ประสานงานกิจกรรมการเรี
ยน - บันทึกการพัฒนาของผู้เรียนแต่
ละคน - เป็นผู้เตรียมกิจกรรมและสื่
อการสอนเพิ่มเติม เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพที่เปลี่ ยนแปลงไป - บทบาทของผู้เรียน
- ทำความเข้าใจเกี่ยวกับข้อปฏิบั
ติในการเรียนแบบศูนย์การเรียน - ปฏิบัติกิจกรรมตามคำสั่งที่ได้
รับจากศูนย์การเรียนแต่ละศูนย์ อย่างเคร่งครัด - การศึกษาให้ครบทุกศูนย์กิจกรรม
- ให้ความร่วมมือกัลกลุ่
มในการประกอบกิจกรรม รวมทั้งการเป็นผู้นำหรือผู้ ตามที่ดีด้วย - จุดการสอน
- คู่มือครู
- แบบฝึกปฏิบัติสำหรับผู้เรียน
- สื่อสำหรับศูนย์กิจกรรม
- แบบทดสอบสำหรับการประเมินผล
- การจัดห้องเรียน
- จัดเป็นกลุ่มสำหรับให้ผู้เรี
ยนประกอบกิจกรรมตามปกติ โดยวิธีการดังกล่าวก็อาจจัดง่ ายๆ โดยจัดเก้าอี้ 4-6 ตัว มารวมกันเป็นกลุ่มเรียกว่า ศูนย์กิจกรรม โดยนิยมจัดไว้กลางห้อง - จัดกลุ่มตามความสนใจ จัดตามกลุ่มวิชาโดยให้จัดโต๊
ะและเก้าอี้เป็นกลุ่มๆ วางเข้าชิดผนัง
ขั้นตอนของการสร้างชุ ดการสอนแบบศูนย์การเรียน
- เลือกเรื่องที่จะสอน
- กำหนดมโนทัศน์หรือความคิดรวบยอด
- กำหนดจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม
- กำหนดกิจกรรมการเรียนให้สอดคล้
องกับหัวข้อเรื่อง - กำหนดสื่อการสอน
ขั้นตอนการสอนวิธีการสอนแบบศู นย์การเรียน
- ขั้นทดสอบก่อนเรียน
- ขั้นนำสู่บทเรียน
- ขั้นประกอบกิจกรรมการเรียน
- ขั้นสรุปบทเรียน
- ขั้นประเมินผลการเรียน
ข้อดี
- ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม
- สร้างบรรยากาศแห่งเสรีภาพ
- ได้ทราบถึงพัฒนาการของผู้เรียน
- ผู้เรียนมีความตื่นตัวตลอดเวลา
วิธีการสอนแบบทัศนศึกษา
เป็นวิธีการที่ช่วยให้ผู้เรี ยนได้รับประสบการณ์ตรงในเรื่ องที่เรียน ได้เรียนรู้สภาพความเป็นจริงได้ ใช้แหล่งชุมชนให้เป็นประโยชน์ต่ อการเรียนรู้
วัตถุประสงค์การสอนแบบทัศนศึกษา
วิธีการสอนโดยใช้การไปทัศนศึ กษาเป็นวิธีการที่ช่วยให้ผู้เรี ยนได้รับประสบการณ์ตรงในเรื่ องได้เรียนรู้สภาพความเป็นจริ งได้ใช้แหล่งชุมชนให้เป็ นประโยชน์ตาอการเรียนรู้
องค์ประกอบสำคัญของวิธีสอน
- มีการวางแผนร่วมกันระหว่างผู้
สอนและผู้เรียนในเรื่องวัตถุ ประสงค์ - มีการเดินทางออกไปยังสถานที่เป้
าหมายซึ่งอยู่ภายนอก - มีกระบวนการในการศึกษาสิ่งที่ต้
องการเรียนรู้ในสถานที่นัน้ - สรุปผลการเรียนรู้
เทคนิคและข้อเสนอแนะ
- การวางแผน
- การเดินทางไปทัศนศึกษา
- การศึกษาในสถานที่เป้าหมาย
- การเดินทางกลับ และสรุปบทเรียน
ข้อดี
- เป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรี
ยนได้รับประสบการณ์โดยตรง ได้เรียนรู้สภาพความเป็นจริง - เป็นวิธีสอนที่ส่งเสริมการใช้
ทรัพยากรท้องถิ่นและชุมชนให้เป็ นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ - เป็นวิธีสอนที่เอื้อให้ผู้เรี
ยนได้ฝึกทักษะต่างๆ - เป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรี
ยนได้เปลี่ยนบรรยากาศในการเรี ยนรู้
วิธีการสอนโดนใช้กรณีตัวอย่าง
การสอนโดยใช้กรณีตัวอย่างนี้ มิได้มุ่งที่คำตอบใดคำตอบหนึ่ง แต่ต้องการให้ผู้เรียนเห็ นคำตอบและเหตุผลที่หลากหลาย อันจะช่วยให้การตัดสินใจมี ความรอบครอบขึ้น
วัตถุประสงค์
วิธีการสอนโดยใช้กรณีตัวอย่ างเป็นวิธีการที่มุ่งช่วยให้ผู้ เรียนฝึกฝนการเผชิญและแก้ปั ญหาโดยไม้ต้องรอให้เกิดปัญหาจริ ง เป็นวิธีการที่เปิดโอกาสให้ผู้ เรียนวิเคราะห์ และเรียนรู้ความคิดของผู้เรี ยนช่วยให้ผู้เรียนมีมุมมองที่ กว้างขึ้น
องค์ประกอบสำคัญของวิธีสอน
- มีกรณีเรื่องที่คล้ายกับเหตุ
การณ์จริง - มีประเด็นคำถามให้คิดพิ
จารณาหาคำตอบ - มีคำตอบที่หลากหลาย
- มีการอภิปราย
ขั้นตอนสำคัญของการสอน
- ผู้สอน/ผู้เรียนนำเสนอกรณีตั
วอย่าง - ผู้เรียนศึกษากรณีตัวอย่าง
- ผู้เรียนอภิปรายประเด็นคำถามเพื่
อหาคำตอบ - ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายคำตอบ
- ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายเกี่
ยวกับปัญหาวิธีการแก้ไขปั ญหาของผู้เรียน และสรุปการเรียนรู้ที่ได้รับ
เทคนิคและข้อเสนอแนะ
- การเตรียมการ
- การนำเสนอกรณีตัวอย่าง
- การศึกษากรณีตัวอย่างและการอภิ
ปราย
ข้อดีและข้อจำกัด
- เป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรี
ยนได้พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดแก้ปัญหา ช่วยให้ผู้เรียนมีมุมมองที่กว้ างขึ้น - เป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรี
ยนได้เผชิญปัญหาที่เกิดขึ้ นในสถานการณ์จริงและได้ฝึกแก้ปั ญหาโดยไม่ต้องเสี่ยงกับผลที่ จะเกิดขึ้น - เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้ผู้เรี
ยนมีส่วนร่วมในการเรียน ส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ เรียน และส่งเสริมการเรียนรู้จากกั นและกัน - เป็นวิธีการสอนที่ให้ผลดี
มากสำหรับผู้เรียนที่มีความรู้ และประสบการณ์หลากหลายสาขา
วิธีการสอนแบบใช้เกม
จุดเน้นของเกมอยู่ที่การเรียนรู้ ยุทธวิธีต่างๆ ที่จะเอาชนะอุปสรรค เพื่อจะไปให้ถึงเป้าหมาย ผู้สอนจำเป็นจะต้องเข้าใจจุดเน้ นของการใช้เกมในการสอนเพื่อให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวั ตถุประสงค์
วัตถุประสงค์
วิธีสอนโดยใช้เกม เป็นวิธีการที่ช่วยให้ผู้เรี ยนได้เรียนรู้เรื่องต่างๆ อย่างสนุกสนาน และท้าทายความสามรถโดยผู้เนี ยนเป็นผู้เล่นเอง ทำให้ได้รับประสบการณ์ตรง เป็นวิธีการที่เปิดโอกาสให้ผู้ เรียนมีส่วนร่วม
องค์ประกอบสำคัญของวิธีสอน
- มีเกมและกติกาการเล่น
- มีการเล่นเกมตามกติกา
- มีการอภิปรายเกี่ยวกับผลการเล่น วิธีการเล่น และพฤติกรรมการเล่นของผู้เล่
นหลังการเล่น
ขั้นตอนสำคัญของการสอน
- ผู้สอนนำเสนอเกม ชี้แจงวิธีการเล่น และกติกาการเล่น
- ผู้เรียนเล่นเกมตามกติกา
- ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายเกี่
ยวกับผลการเล่นและวิธีการหรื อพฤติกรรมการเล่นของผู้เรียน
ข้อดีและข้อจำกัด
- เป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรี
ยนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ และเกิดการเรียนรู้จากการเล่น - เป็นวิธีการที่ช่วยให้ผู้เรี
ยนเกิดการเรียนรู้ โดยการเห็นประจักษ์แจ้งด้ วยตนเอง ทำให้การเรียนรู้นั้นมี ความหมายและอยู่คงทน - เป็นวิธีสอนที่ผู้สอนไม่เหนื่
อยแรงมากขณะสอนและผู้เรียนชอบ
วิธีการสอนแบบMIAP
กระบวนการเรียนการสอน
M-I-A-P
Motivation ขั้นสนใจปัญหา
Information ขั้นศึกษาข้อมูล
Application ขั้นพยายาม
Progress ตรวจสอบ
ขั้นสนใจปัญหา M
Motivation เป็นขั้นนำเข้าสู่บทเรียนด้ วยความสนใจ ความมุ่งหมายของขั้นสนใจปัญหา
- กระตุ้นความสนใจของผู้เรียน
- รักษาความตั้งใจในระหว่างบทเรี
ยน - นำผู้เรียนเข้าสู่เรื่องที่
จะเรียนด้วยความตั้งใจ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดความสนใจ
Motivation
- ความต้องการในการประกอบอาชีพ
- ใจรักวิชา
- ค่านิยมในวิชา
- ค่านิยมในตัวผู้สอน
- ต้องการขั้นคะแนน
- ความตั้งใจในการสอน
- การส่งเสริมกำลังใจจากความสำเร็
จ
หลักในการสร้างขั้นสนใจปัญหา
- สร้างปัญหาให้ผู้เรียนได้เห็
นจริง แล้วเกิดความสนใจ - ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วม เสนอแนะและถกปัญหานั้น
- ปัญหาที่เสนอต้องตรงและเกี่ยวข้
องกับบทเรียน - ใช้เวลานำเข้าสู่บทเรียนสั้นๆ
- จบขั้นปัญหาด้วยหัวเรื่
องของบทเรียนที่จะเรียน
การสร้างขั้นสนใจปัญหา
- นำเข้าสู่บทเรียนด้วยคำถามที่น่
าสนใจ - แสดงชิ้นงานสำเร็จหรือผลงานที่
เกี่ยวข้องกับบทเรียนโดยตรง - กระตุ้นให้แสดงการถกปัญหาสั้
นๆกันในชั้นเรียน - เสนอปัญหาโดยใช้สื่อช่วยสอน
- สาธิต ปฏิบัติการทำงาน หรือทดลอง
- เล่าเรื่องจากประสบการณ์ให้เกิ
ดความต้องการเรียนหรือประโยชน์ ในการเรียน
ขั้นศึกษาข้อมูล I
Information เป็นขั้นตอนที่ให้ผู้เรียนได้รั บรู้เนื้อหาบทเรียนที่เรียน โดยมีหลักการสำคัญในการให้เนื้ อหาดังนี้
- เนื้อหาแตกย่อย และเรียงลำดับที่เหมาะสม
- เนื้อหามัเหตุผล/หลักการ ส่งเสริมความสนใจ
เทคนิคและวิธีสอน
เป็นวิธีการให้เนื้อหาข้อมูลแก่ ผู้เรียน จำแนกตามลักษณะกิจกรรมของผู้ สอน-ผู้เรียน
- ผู้สอนมีกิจกรรมสูง บรรยาย สาธิต เป็นต้น
- ผู้สอนและผู้เรียนมีกิจกรรมร่
วมกัน ถามตอบ อภิปราย สืบสวน เป็นต้น - ผู้เรียนมีกิจกรรมสูง ศึกษาด้วยตนเอง เป็นต้น
ขั้นพยายาม A
Application
เป็นขั้นตอนที่ให้ผู้เรียนได้ แสดงออก ซึ่งพฤติกรรมจากการเรียนรู้ ด้วยการทำแบบฝึกหัด หรือลงมือปฏิบัติงานจริง
ความมุ่งหมายของขั้นพยายาม
- ให้ผู้เรียนได้ทดลอง ใช้เนื้อหา ความรู้ ทักษะ ที่ได้รับมาจากขั้นศึกษาข้อมูล
- ก่อให้เกิดการตรวจปรับ
- ป้องกันการเลื่อน/การลืม
- ส่งถ่ายความรู้/ฝึกแก้ปัญหา
ขั้นสำเร็จผล P
Progress
- เป็นขั้
นตอนในการตรวจผลความสำเร็ จของการเรียน โดยตรวจจากผลของการกระทำที่ ทำไว้ในระหว่างขั้นพยายาม - ตรวจแบบฝึกหัด/งานฝึกหัด
- ขั้นสำเร็จผล
- ไม่ใช้การตรวจสอบหรือวั
ดผลการเรียน
ความมุ่งหมายของขั้นสำเร็จผล
- ตัดสนใจได้
- ให้ผู้เรียนแน่ใจในผลสำเร็
จของตน - เสริมกำลังใจผู้เรียน
ขั้นตอนการสอน MIAP ภาคทฤษฎี
M = ปลาน้ำจืดที่ใหญ่ที่สุด คือ ปลาบึก
l = ปลาบึกอาศัยในแม่น้ำโขง
A = แบบฝึกหัด,แบบทดสอบ
P = ข้อ ก. ใครถูกบ้าง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น