วันจันทร์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

ผู้ได้ประโยชน์จากการประกันคุณภาพ

ผู้ได้ประโยชน์จากการประกันคุณภาพ
นักศึกษา : เป็นคนดี มีคุณภาพ มีความรู้ มีงานทำ มีเงินเดือนตามเกณฑ์ มีความสุข
ผู้ปกครอง : ไว้วางใจในสถาบันที่จะให้ลูกหลานเข้าศึกษา
ผู้ประกอบการ/นายจ้าง :       ได้บุคลากรที่ดี มีความรู้ ความสามารถตรงตามต้องการ กิจการประสบผลสำเร็จได้กำไร        ได้รับการสนับสนุนทางวิชาการที่มีคุณภาพ
ประชาชน/สังคม/รัฐบาล : ได้ทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพได้องค์ความรู้จากงานวิจัยที่เป็นผลผลิตจากสถาบันการศึกษา
มหาวิทยาลัย :  ได้ชื่อเสียง ดำรงอยู่ได้

การประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาจะมีประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อได้มีการประเมินผลการดำเนินงานตามภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีการทบทวนและติดตามกระบวนการดำเนินการอย่างใกล้ชิด

ภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา
1.      การผลิตบัณฑิต
2.      การสร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม
3.      การบริการวิชาการ
4.      การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายใน
องค์ประกอบที่ 1        ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดำเนินงาน
          องค์ประกอบที่  2       การเรียนการสอน
          องค์ประกอบที่ 3        กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา
          องค์ประกอบที่ 4        การวิจัย
          องค์ประกอบที่ 5        การบริการวิชาการแก่สังคม
          องค์ประกอบที่ 6        การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
          องค์ประกอบที่ 7        การบริหารและจัดการ
          องค์ประกอบที่ 8        การเงินแลงบประมาณ
          องค์ประกอบที่ 9       ระบบประกันคุณภาพภายใน

มาตรฐานในการประเมินภายนอก ของ สมศ.
         1. ด้านคุณภาพบัณฑิต
         2. ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์
         3. ด้านการบริการวิชาการ
         4. ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
         5. ด้านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร
         6. ด้านหลักสูตรและการเรียนการสอน
         7. ด้านการประกันคุณภาพ                
  
ผู้เกี่ยวข้องกับคุณภาพการศึกษา

1.      อธิการบดี/รอง
2.      อาจารย์/บุคลากรสนับสนุน
3.      หัวหน้าสาขา
4.      กรรมการสภามหาวิทยาลัย
5.      คณบดี
6.      ผู้ปกครอง /ชุมชน

นายอรรถพล  เรืองขจร  TME 358116251028

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น